ชนิดของไฟฟ้าและระบบไฟฟ้า

การใช้ไฟฟ้านั้นสิ่งสำคัญคือ ควรคำนึงถึงการใช้งานและความเหมาะสม ซึ่งหลัก ๆ แล้วชนิดของไฟฟ้านั้นจะถูกแบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ ไฟฟ้าสถิต และไฟฟ้ากระแส

อ่านต่อ →

ตัวนำและฉนวนไฟฟ้า

ตัวนำ (Conductor) คือ สสาร หรือวัสดุบางชนิดที่ไฟฟ้าสามารถไหลผ่านได้ดี ต่างจาก ฉนวนไฟฟ้า (Insulator) คือ สสาร หรือวัสดุบางชนิดที่ไฟฟ้าไม่สามารถไหลผ่านได้

อ่านต่อ →

การออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์

การออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์นั้นจะเริ่มขึ้นจากจุดประสงค์ในการใช้งานเป็นหลัก เพราะการเชื่อมต่อในแต่ละวงจร ก็จะแตกต่างออกไปตามการใช้งาน

อ่านต่อ →

วงจรอิเล็กทรอนิกส์

ก่อนอื่นนั้น อิเล็กทรอนิกส์ (Electronics) จะมีความหมายว่า การควบคุมหรือออกแบบการไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้า ซึ่งก็จะมีชิ้นส่วน หรือ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เป็นส่วนประกอบของวงจร

อ่านต่อ →

อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์

อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เป็นวงจรไฟฟ้า ที่เป็นอุปกรณ์ที่สามารถใช้งานได้ก็ต่อเมื่อมีการไหลผ่านของกระแสไฟฟ้า

อ่านต่อ →

แหล่งกำเนิดไฟฟ้า

แหล่งกำเนิดไฟฟ้านั้น คือแหล่งที่สามารถจ่ายพลังงานให้เกิดไฟฟ้าได้ ซึ่งจะมีด้วยกันอยู่หลายวิธี

อ่านต่อ →

ศักย์ไฟฟ้า

ศักย์ไฟฟ้า หรือ ศักดาไฟฟ้า คือ ระดับของพลังงานศักย์ไฟฟ้า ณ จุดใด ๆ ในสนามไฟฟ้า ซึ่งมีด้วยกันอยู่ 2 ชนิด คือ ศักย์ไฟฟ้าบวก และ ศักย์ไฟฟ้าลบ

อ่านต่อ →

สายล่อฟ้า

สายล่อฟ้า เกิดจากแนวคิดและการทดลองของ เบนจามิน แฟรงคลิน ด้วยการทดลองและสังเกต โดยการเอาเหล็กแหลมมาเสียบบรรจุไว้ในภาชนะทรงกลม จากนั้นก็เอาการทดลองดังกล่าวมาพัฒนาเป็นสายล่อฟ้า

อ่านต่อ →

ทฤษฎีอิเล็กตรอน Electron Theory

จากการพัฒนาและวิจัยในปัจจุบันทำให้ทราบว่าสารต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นของแข็งของเหลวหรือก๊าซ เรียกว่าโมลกุล ซึ่งในแต่ละโมเลกุลของมันประกอบด้วยอนุภาคเล็ก ๆ ที่เรียกว่า “อะตอม” (Atom)

อ่านต่อ →

ประวัติไฟฟ้า

การค้นพบไฟฟ้าเริ่มมาจากเมื่อ 600 ปีก่อนคริสตกาล โดยเป็นการค้นพบไฟฟ้าสถิตจากแท่งอำพันของเทลีส เขาได้ให้ข้อสังเกตว่าเมื่อนำแท่งอำพันถูกับผ้าขนสัตว์ แล้ววางแท่งอำพันไว้ใกล้กับวัตถุชิ้นเล็ก ๆ

อ่านต่อ →